ห้องเรียนที่สร้างสรรค์คือสวรรค์และแสงสว่าง
แวดวงการศึกษาในปัจจุบันเรียกร้องให้เด็กรุ่นใหม่มีความคิดสร้างสรรค์ เรียกร้องให้เด็กต้องคิดสิ่งแปลกใหม่ทั้งที่รูปแบบการสอนและทรัพยากรที่จะทำให้เขาเติบโตกลับไม่เปลี่ยนแปลง
แวดวงการศึกษาในปัจจุบันเรียกร้องให้เด็กรุ่นใหม่มีความคิดสร้างสรรค์ เรียกร้องให้เด็กต้องคิดสิ่งแปลกใหม่ทั้งที่รูปแบบการสอนและทรัพยากรที่จะทำให้เขาเติบโตกลับไม่เปลี่ยนแปลง
การจัดกระบวนการเรียนรู้ มันคล้ายกับการย่อส่วนประสบการณ์เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในระยะเวลาที่สั้นลง หวังผลได้มากขึ้นและมีความชัดเจน
เพียงแค่นั่งเล่น เดินสวน ป่ายปีนเก็บผลไม้ เคล้าไปกับการดมและจิบกาแฟ จังหวะชีวิตที่แม้ดูเหมือนไม่เอาการเอางานอะไรเลย
‘มหาลัยเถื่อน’ พื้นที่การเรียนรู้ หลักสูตรที่กระทรวงศึกษาไม่รับรอง ณ มะขามป้อมอาร์ตสเปซ อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่
ในโลกของการศึกษา ที่ใครต่อใครมองว่าล้มเหลว ชวนหมดหวัง ยังมีพื้นที่การเรียนรู้กลางทุ่งนาชื่อว่า “มะขามป้อม ART SPACE”
กอล์ฟ-ธนุพล ยินดี นักการละครและเจ้าหน้าที่ กลุ่มมะขามป้อม หนึ่งในผู้จัด ผู้ริเริ่ม และเจ้าของความฝันอยากเห็นพื้นที่รวมเครือข่ายศิลปินเชียงใหม่ให้มาทำงานขับเคลื่อนประเด็นร่วมกัน
แม้จะไม่ได้เป็น ‘ครู’ ไม่ใด้ใกล้ชิดกับเด็กที่สุด แต่ในฐานะนักจัดกระบวนการเรียนรู้ ‘ฝน’ ภัทรกร เกิดจังหวัด นักจัดกระบวนการห้องเรียนประชาธิปไตย จากมูลนิธิสื่อชาวบ้าน (มะขามป้อม)
ถ้าประชาธิปไตยคือการเปิดหู เปิดตา เปิดใจ เพื่อสร้างพื้นที่ทางสังคมที่ทุกคนมีส่วนร่วม แต่ ‘ทุกคน’ ที่ว่านี้ประกอบด้วยใครบ้าง? เด็ก ผู้ใหญ่ คนชรา
เพราะห้องเรียนคือโลกจำลองของสังคม ถ้าห้องเรียนเผด็จการ สังคมก็เผด็จการ แต่ถ้าห้องเรียนประชาธิปไตย ห้องเรียนก็ประชาธิปไตย
ม.เถื่อน มีทั้ง ‘วิชา talk’ ที่ชวนคนที่มีประสบการณ์ในเรื่องนั้นมา talk เช่น ครูละครที่ชวนคุยเรื่องการใช้ละครพูดเรื่องการเมืองในความทรงจำ, นักขับเคลื่อนเรื่องการศึกษาของเด็กชายขอบ